วันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 4
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน

 

ได้ติดตามกับเพื่อนที่นำเสนองานตามกลุ่ม ที่ได้รับมอบหมาย
ครั้งที่ 3
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 3 เวลาเรียน 14.10-17.30 กลุ่ม 102 ห้อง 432

เวลาเข้าสอน 14.10 เวลาเข้าเรียน 14.10 เวลาเลิกเรียน 17.30


อาจารย์ยังได้สอนเกี่ยวกับ เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่
1. การสังเกต คือ การใช้ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้ (สัมผัสจากของจริง) โดยเข้าไปมีปฎิสัมพันธ์โดยตรงอย่างมีจุดหมาย

ตัวอย่างเช่น


2. การจำแนกประเภท คือ การแบ่งแยกสิ่งของด้วยใช้เกณฑ์ การใช้เกณฑ์ก็จะมี ความเหมือน ความต่าง ความสัมพันธ์

ตัวอย่างเช่น

3. การเปรียบเทียบ คือ การที่เด็กจะต้องอาศัยความสัมพันธ์ของสิ่งของ หรือเหตุการณ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป เด็กต้องเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งๆนั้น และรู้จักคำศัพท์คณิตศาสตร์ที่ต้องใข้ด้วย

ตัวอย่างเช่น

4. การจัดลำดับ คือ เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง เหมาะสำหรับเด็กอายุ 3 ปีขึ้นไป  เป็นการจัดลำดับวัตถุ หรือ เหตุการณ์

ตัวอย่างเช่น
5. การวัด  จะมีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษณ์ ส่วนมากการวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก ส่วนสูง

ตัวอย่างเช่น
6. การนับ  คือ เด็กจะชอบนับแบบท่องจำโดยไม่รู้ความหมาย การนับแบบท่องจำจะมีความหมาย ก็ต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง เช่น นับเพื่อนที่มาเรียน หรือ นับการมาเรียนในตัวเองต่อสัปดาห์

ตัวอย่างเช่น
7. รูปทรงและขนาด   เด็กส่วนมากเข้าใจอยู่แล้ว (ไม่ค่อยมีปัญหา ) เพราะ เด็กเข้าใจในเรื่องรูปทรงและขนาด ก่อนเข้า ร.ร. อยู่แล้ว

ตัวอย่างเช่น






การนำความรู้ไปใช้ 

1. สามารถสอนเด็กเกี่ยวกับการนับเลขได้
2. สามารถนำไปใช้เป็นกิจกรรมให้เด็กเล่นได้


ครั้งที่ 2
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสคร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันที่ศุกร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 2 เวลาเรียน 14.10-17.30 กลุ่ม 102 ห้อง 432

เวลาเข้าสอน 14.10 เวลาเข้าเรียน 14.10 เวลาเลิกสอน 17.30

ติดตามจากเพื่อน

ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ ... 

วันนี้อาจารย์ได้สอน เรื่องคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ว่าเป็นระบบการคิดที่ใช้ในการศึกษาความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆในเชิงปริมาณ โดยใช้ภาพ สัญลักษ์ พูด และเขียน เพื่อความเข้าใจในตัวเลข จำนวน และการคิดคำนวณต้องใช้ความคิดที่เป็นระเบียบ มีเหตุผลและสร้างสรรค์ด้วย
   - ความสำคัญ คือ 1. เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน  2. ส่งเสริมกระบวนการคิดแก้ปัญหา (ใช้เพื่อหาเหตุผล)  3. เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการสำรวจข้อมูล วางแผนงาน และประเมินผล  4. เป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาต่างๆ โดยเฉพาะ วิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาของ Piaget

ตัวอย่างเช่น

มีน้ำในแก้วอยู่ 2 ใบ แล้วให้เด็กดูว่าน้ำในแก้ว 2 ใบนี้เท่ากันไหม เด็กดูแล้วตอบว่า  เท่ากัน  




และเมื่อเทน้ำจากแก้วที่ 2 ไปใส่ในแก้วที่ 3 ซึ่งมีรูปทรงสูงกว่าแก้วที่ 2 ให้เด็กดูแล้วตอบใหม่ เด็กจะตอบว่า แก้วใบที่ 3 มีน้ำมากกว่าแก้วใบที่




จากนั้นอาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับ การอนุรักษ์ (Conservation) หมายถึง การสะสมความคิดเดิม



อาจารย์ให้วาดรูปสัตว์ที่มีขาเยอะ พอทุกคนวาดเสร็จอาจารย์บอกว่าให้ใส่รองเท้าให้สัตว์ที่ตัวเองวาดด้วย


การนำไปประยุกต์ใช้ 

1. สามารถนำเรื่องของการอนุรักษ์ใช้กับเด็กได้ๆ




ครั้งที่ 1
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วันศุกร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 14.10-17.30 กลุ่ม 102 ห้อง 432

เวลาเข้าสอน 14.10 เวลาเข้าเรียน 14.10 เวลาเลิกสอน 17.30

ติดตามจากของเพื่อน





วันนี้อาจารย์ให้ทำ Mind Map เกี่ยวกับความรุ้เดิมในวิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ว่ามีความรู้เดิมเป็นอย่างไรกันบ้างก่อนที่จะเริ่มเข้าสู่บทเรียน







การนำความรู้ไปใช้ ...

1. สามารถนำคาวมรู้มาใช้ในการสอนเด็กได้