วันพฤหัสบดีที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ครั้งที่9
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



เรื่องสื่อคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ในวันนี้เป็นการเรียนคาบสุดท้ายแล้วอาจารย์นัดให้นักศึกษาส่งสื่อคณิตศาสตร์พร้อมทั้งนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยมีรายชื่อตัวอย่างสื่อดังนี้...บัตรภาพ
ชูชินับเลข
วงล้อมหาสนุก
สื่อคู่แฝด
รูปทรงหรรษา
กระถางลูกโป่ง
เด็กน้อยนับเลข
ลังไข่มหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก
ลูกเต๋าสารหน้า
จำนวนนับ
จับคู่หาตัวเลข
จำนวนนับและเรขาคณิต
มานับเลขกันเถอะ
พีชคณิตปู๊นๆ
โดนัทตัวเลข
มาเติมตัวเลขกัน
จิ๊กซอรูปเรขาคณิต
ตาชั่งคณิตศาสตร์หรรษา
ตัวเลขหรรษา

บรรยากาศภายในห้อง




ครั้งที่8
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



เรื่องแผนการสอนคณิตศาสตร์
ตั้นชั่วโมงอาจารยือธิบายเกี่ยวกับเรื่องการเขียนแผนการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยมีข้อสรุปดังต่อไปนี้…..คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยจะบูรณาการไปกับการทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันของเด็ก เช่น กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ เป็นต้น ซึ่งการเขียนแผนการสอนในรายวิชานี้ไม่จำเป็นต้องเขียนทุกวันหรือทุกสัปดาห์แต่ให้ระบุว่าในแต่ละเทอมของเด็กแต่ละช่วงชั้นว่าเด็กได้เรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างไรบ้าง

จากนั้นอาจารย์ก็ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มย่อย 5-6 คน ต่อ1 กลุ่ม แล้วช่วยกันระดมความคิดในการเขียนแผนการสอนโดยในตอนเรียกอาจารยือธิบายแนวทางและวิธีการเขียนแผนก่อนต่อมาก็ให้นักศึกษาลงมือปฎิบัติเองพร้อมทั้งออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนตอนท้ายคาบเรียน

บรรยากาศภายในห้อง








ครั้งที่7
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน




เรื่องแผนการสอน และพีชคณิต
 งานแรก คาบเรียนนี้อาจารย์ให้แบ่งนักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆให้ออกมาเสนอการจัดการเรียนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยในหัวข้อ ..สถิติสำหรับเด็กปฐมวัยโดยกลุ่มของข้าพเจ้าได้หัวข้อเรื่องสัตว์ที่ออกลูกเป็นตัวและสัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่ ซึ่งจากทำสถิติสำหรับเด็กปฐมวัยจะไม่มีความซับซ้อนอาจจะเป็นการให้เด็กแยกประเภทจากภาพตามที่ครูยกขึ้มมาให้เด็กดู เช่น  สัตว์ปีก  สัตว์บก สัตว์เลื้อยคลาน ในด้านของตัวผู้สอนนั้น จะเป็นผู้จัดเตรียมสื่อ เขียนสื่อตามที่เด็กแสดงความคิดเห็นออกมาโดยท้ายสุดของกิจกรรมครูผู้สอนจะต้องเป็นคนสรุปการเรียนรู้ทั้งหมดให้เด็กอีกหนึ่งรอบเพื่อให้เด็กมีความเข้าใจ และ ยังเป็นการประเมินตัวของเด็กไปในตัวโดยการสังเกตหรือการตอบคำถามท้าย



กิจกรรม
งานที่สอง  อาจารย์ให้นักศึกษาออกแบบสื่อตัวหนอนที่เกี่ยวข้องกับพีชคณิตสำหรับเด็กปฐมวัย โดยรูปแบบของการทำสื่อคือ ตัวหนอนจะต้องมีความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็น รูปร่าง 



ขนาด หรือ สี

การเรียนในคาบนี้ถือว่าสนุกมากนอกจะที่จะได้แสดงบทบาทสมมุติแล้วยังได้ใช้ความคิดที่สร้างสรรค์ในการออกแบบสื่อการสอนที่เกี่ยวข้องกับคณิดศาสตร์ด้วยเป็นการเปิดมุมมองใหม่ๆในการทำสื่อเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ของเด็กได้เป็นอย่างดีเลยทีเดียว

บรรยากาศภายในห้อง







ครั้งที่6
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน


ไปแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย ณ จ.ขอนแก่น
ครั้งที่5
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน


ไปแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย ณ จ.ขอนแก่น

วันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 4
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน

 

ได้ติดตามกับเพื่อนที่นำเสนองานตามกลุ่ม ที่ได้รับมอบหมาย
ครั้งที่ 3
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 3 เวลาเรียน 14.10-17.30 กลุ่ม 102 ห้อง 432

เวลาเข้าสอน 14.10 เวลาเข้าเรียน 14.10 เวลาเลิกเรียน 17.30


อาจารย์ยังได้สอนเกี่ยวกับ เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่
1. การสังเกต คือ การใช้ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้ (สัมผัสจากของจริง) โดยเข้าไปมีปฎิสัมพันธ์โดยตรงอย่างมีจุดหมาย

ตัวอย่างเช่น


2. การจำแนกประเภท คือ การแบ่งแยกสิ่งของด้วยใช้เกณฑ์ การใช้เกณฑ์ก็จะมี ความเหมือน ความต่าง ความสัมพันธ์

ตัวอย่างเช่น

3. การเปรียบเทียบ คือ การที่เด็กจะต้องอาศัยความสัมพันธ์ของสิ่งของ หรือเหตุการณ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป เด็กต้องเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งๆนั้น และรู้จักคำศัพท์คณิตศาสตร์ที่ต้องใข้ด้วย

ตัวอย่างเช่น

4. การจัดลำดับ คือ เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง เหมาะสำหรับเด็กอายุ 3 ปีขึ้นไป  เป็นการจัดลำดับวัตถุ หรือ เหตุการณ์

ตัวอย่างเช่น
5. การวัด  จะมีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษณ์ ส่วนมากการวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก ส่วนสูง

ตัวอย่างเช่น
6. การนับ  คือ เด็กจะชอบนับแบบท่องจำโดยไม่รู้ความหมาย การนับแบบท่องจำจะมีความหมาย ก็ต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง เช่น นับเพื่อนที่มาเรียน หรือ นับการมาเรียนในตัวเองต่อสัปดาห์

ตัวอย่างเช่น
7. รูปทรงและขนาด   เด็กส่วนมากเข้าใจอยู่แล้ว (ไม่ค่อยมีปัญหา ) เพราะ เด็กเข้าใจในเรื่องรูปทรงและขนาด ก่อนเข้า ร.ร. อยู่แล้ว

ตัวอย่างเช่น






การนำความรู้ไปใช้ 

1. สามารถสอนเด็กเกี่ยวกับการนับเลขได้
2. สามารถนำไปใช้เป็นกิจกรรมให้เด็กเล่นได้